จากเว็บไซด์ Developing self-discipline: http://www.studygs.net/discipline.htm
การมีวินัยในตนเองสามารถพิจารณาจากการฝึก การสร้างนิสัยของความคิดใหม่ การกระทำ การพูดเพื่อให้พัฒนาตนเองและเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
จัดเวลาเพื่อให้กับการทำงาน/การบ้านในแต่ละวัน ฝึกทำงานในเวลาว่าง ๆ
•จัดเวลาให้กับการเรียนตอนเช้าหนึ่งครั้งและตอนเย็นอีกหนึ่งครั้ง
•งานทีทำไม่ควรให้เกิน 15 นาที
•รอให้ตารางเวลาแน่ชัดแล้วค่อยเริ่มทำงาน
•ยึดตารางเวลาให้คงที่อย่างน้อย 2 เดือน
(ข้อดีคือ การจัดเวลาช่วยให้มุ่งไปที่การทำงานเป็นอันดับแรก โดยสำคัญที่การเริ่มทำงานมากกว่าการเสร็จสิ้นของงาน สามารถหลีกเลี่ยงการผลัดวันประกันพรุ่งได้)
•จัดเวลาทำงานและให้ปฏิบัติตามตารางอย่างเคร่งครัด
•บันทึกความคืบหน้าในการทำงาน (ข้อดีคือ ทำให้รู้ว่าการทำงานในชิ้นนั้น ๆ ใช้เวลาไปเท่าไหร่กว่าจะสำเร็จ)
•หากคุณเริ่มมีเวลาว่างมากขึ้นให้เอาเวลานั้นไปทำงานง่าย ๆ จดบันทึกไว้ วางแผนงานอื่น ๆ
ตัวกำหนดกิจวัตรประจำวัน
•จัดสรรค์เวลาให้กับการทำงานชิ้นนั้น ๆ
•รักษาเวลาไว้
•อย่าตั้งเป้าหมายอื่นเกินกว่าที่เวลาจะมีให้ ตั้งเพียงสิ่งที่ทำเป็นกิจวัตร
•นำเทคนิคนี้ไปใช้กับการทำการบ้านหรือโครงงาน (ข้อดีคือ การบริหารจัดการเวลาสามารถจัดการกับงานที่ท่วมท้นได้ ไม่ใช่ทำเสร็จได้เพียงแค่ครั้งเดียว
ใช้การมีวินัยในตนเองเพื่อจัดการบริหารเวลา (ข้อดีคือ ขณะที่คุณบริหารจัดการกับการทำงานคุณได้สร้างวินัยในตนเองด้วย ขณะที่คุณสร้างวินัยในตนเอง คุณได้บริหารเวลาด้วย และขณะที่คุณบริหารเวลาคุณได้สร้างความมั่นใจในตนเองด้วย)
สมุดบันทึกวินัยในตนเอง
•บันทึกเวลาเริ่มทำและเวลาเสร็จงาน
•ทบทวนผลย้อนกลับบนความก้าวหน้าของงาน (ข้อดีคือ สมุดบันทึกนี้เป็นเครื่องมือที่มีค่าที่จะได้ภาพเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำดีกว่า และได้รู้ว่าอะไรสำคัญหรือไม่สำคัญในการใช้เวลาของคุณ
จัดตารางวันทำงานและการเรียนของคุณ
•วันไหนที่คุณเริ่มทำงาน ให้คุณจดบันทึกลงไปและจดสิ่งที่ต้องการทำให้เสร็จภายในวันนั้นด้วย
•จัดลำดับของรายการที่ทำ
•เริ่มงานที่สำคัญที่สุดก่อน
•ทดลองทำสองสามวันก่อนดูว่าได้ผลกับคุณหรือไม่
•รูปแบบนิสัยเป็นเวลานาน: จำนวนเวลาเท่าไหร่ที่ใช้ไปกับตัวคุณและนิสัย (ข้อดีคือ เริ่มต้นจากงานง่าย ๆ และเปลี่ยนเป็นยากขึ้นเมื่อคุณคิดว่าสามารถทำได้ เขียนหรือจดบันทึกสิ่งที่ทำสำเร็จในแต่ละวัน)
ความท้อแท้ใจ
•หากเจอปัญหาอย่าท้อแท้หรือหมดหวัง
•หากคุณทำผิดพลาดให้คิดว่ามันเป็นเรื่องธรรมชาติ
•หยุดพักแล้วค่อยเริ่มทำอีกครั้งเมื่อมีกำลังใจ
เคล็ดลับ
•สร้างนิสัยใหม่โดยเพิ่มเติมจากนิสัยเดิม เช่น ก่อนคุณจะดื่มกาแฟ ก็เพิ่มการเขียนหรือทำงานในระหว่างการดื่มไปด้วย (ข้อดีคือ สัมพันธ์กับสิ่งที่ทำเป็นประจำอยู่แล้วจึงไม่แตกต่างอะไร)
•ทำสัญลักษณ์ความคืบหน้าในการทำงานบนปฏิทินในห้องน้ำ ในคอมพิวเตอร์ ในโต๊ะทานข้าว ดูวันที่ทำงานเสร็จ (ข้อดีคือทำดูได้ว่าความก้าวหน้าการทำงานไปในระดับไหน)
•สำรวจผู้คนที่เกี่ยวข้องในชีวิตของคุณและดูสิ่งที่เป็นข้อจำกัดของวินัยในตนเองและนิสัยที่ช่วยให้บรรลุความสำเร็จ ขอคำแนะนำเกี่ยวกับงาน หรืออะไรที่ไม่เกี่ยวข้อง
วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2552
Motivating Yourself (การสร้างแรงจูงใจให้ตนเอง)
Motivating yourself: http://www.studygs.net/motivation.htm (1-6)
หลักการสร้างแรงจูงใจให้ตนเองมีดังนี้
•พยายามรำลึกอยู่เสมอว่าต้องการทราบ/รู้อะไร
•มีความรับผิดชอบในการเรียน
•ยอมรับในความเสี่ยงที่มีในการเรียนกับความเชื่อมั่น ความสามารถ ตนเอง
•จำไว้ว่าความล้มเหลวคือความสำเร็จ เรียนรู้จากความผิดพลาดคือสิ่งที่ดี
•ฉลองให้กับความสำเร็จของตนเองเมื่อทำงานเสร็จ
Defining the project (การกำหนดเรื่อง /Project)
1.สิ่งที่ต้องการจะศึกษาอย่างย่อ ๆ และได้ใจความ อย่าเขียนสิ่งที่ยากเกินไปเกินความสามารถ เขียนให้ครอบคลุมอย่างมากไปถึง 2 เดือน
2.ระบุ 3 เหตุผล ที่อยากศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ ติดไว้ที่ผนังห้องหรือเก็บไว้ในสมุดบันทึก สิ่งที่ได้พบคุณจะ
-พยายามมากขึ้น
-ลองวิธีใหม่หากทำแล้วไม่ได้ผล
-ทำต่อไปเรื่อย ๆ
-ศึกษาอย่างลึกซึ้งลงไปอีก
แรงจูงใจเดิมที่มีคือแรงจูงใจของคุณและรวมถึงเป้าหมายของคุณ คุณค่า และความสนใจของคุณ นี่คือสิ่งที่คุณจะได้ทำต่อไป ตัวอย่าง
-ฉันอยากเรียนรู้สิ่งที่สามารถสื่อสารกับเพื่อนได้เร็วขึ้น
-ฉันอยากเรียนรู้เกี่ยวกับทวีปอาฟริกาเพื่อรู้ประวัติศาสตร์ครอบครัวของฉัน
-ฉันอยากทำงานและเรียนรู้เกี่ยวกับสกีเพื่อเล่นสกีให้เก่งขึ้น
-ฉันอยากเรียนอุตสหกรรมงานไม้เพื่อทำตู้เครื่องเสียงของฉันเอง
3.Extrinsic value ระบุ 3 เหตุผลที่บางคนต้องการให้คุณศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ อย่าแปะแผ่นนี้บนผนังแต่ให้เก็บไว้แล้วค่อยเอาออกมาทีหลัง หรือวางมันไว้ในหน้าสุดท้ายของสมุดบันทึก
บางครั้งแรงจูงใจอื่น ๆ มาจากภายนอกแต่ไม่มีความสำคัญเท่ากับแรงจูงใจของตนเอง มันรวมถึงเป้าหมาย คุณค่า และความสนใจของคนอื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อคุณ คุณเรียนรู้วิธีที่จะหลีกเลี่ยงการถูกลงโทษ ได้รับรางวัล หรือชื่นชมบางคน ตัวอย่าง
ฉันเรียนรู้วันเวลาเพื่อให้ผ่านการสอบวิชาประวัติศาสตร์
ฉันเรียนรู้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแค่ให้ได้เข้าทำงาน
ฉันเรียนรู้หลักการเตะฟุตบอลเพื่อให้เป็นที่ชื่นชอบของครูฝึก
แรงจูงใจภายนอกไม่ใช่สิ่งเลวร้าย เพียงแต่มันเป็นสิ่งไม่สำคัญเท่ากับแรงจูงใจของตัวเอง
4.การเลือกที่ปรึกษา
ผู้ใดเหมาะที่จะเป็นผู้ให้คำปรึกษา
•คนที่ไว้ใจได้
•เข้าใจเป้าหมาย/แรงจูงใจของคุณ
•เข้าใจ Project ของคุณ
•ติดตามสอบถามการทำงานของคุณเป็นระยะ ๆ
•ไม่ใช่ทดสอบการทำงานของคุณ
•ให้การสนับสนุนคุณไม่ใช่คอยตัดสินคุณ
•สามารถให้คำแนะนำหลากหลายวิธีเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
•ทำการติดต่อถึงคุณหากคุณหลีกเลี่ยงเขาหรือไม่ยอมทำ Project
การติดต่อสื่อสาร
-How (อย่างไร)? ไปพบด้วยตัวเอง โทรศัพท์ หรือ e-mail
-When (เมื่อไหร่)?
-How often (บ่อยแค่ไหน)? เจออย่างน้อย 3 ครั้ง (เริ่มทำ, ตอนกลาง และขั้นสรุป)
-Where (ที่ไหน)?
5.Developing the project การพฒนา Project
•มีลำดับขั้นการเรียนรู้หรือไม่ (บทอ่าน แนวคิด ทักษะ ระดับ เป็นต้น)
•จะใช้เวลาในการทำ Project นี้นานแค่ไหน (ระบุเป็นตารางชั่วโมง สัปดาห์)
•ใครคือผู้ให้คำปรึกษา (บรรนารักษ์ ครู อาจารย์ ผู้รู้อื่น ๆ เป็นต้น)
•แหล่งข้อมูลคือ หนังสือ บรรณานุกรม คู่มือ สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เว็บไซด์ เป็นต้น
•ทดสอบสิ่งที่ได้เรียนรู้ โดย การทดสอบ รายงาน ผลการเรียน เสียงสะท้อนจากเพื่อน ๆ หรือครู จำนวนหน้าที่ได้อ่าน หรืองานที่ทำเสร็จ เป็นต้น
•บันทึกความคืบหน้าของงานเป็นวัน สัปดาห์ เดือนที่ทำงานชิ้นนั้นเสร็จ
•รางวัลที่ให้กับความสำเร็จในการทำงานต้องสอดคล้องกับความก้าวหน้า ระดับความยากง่ายของชิ้นงาน
•เมื่องานไม่สำเร็จตามที่ตั้งเป้าไว้จะไปที่ไหน
6.Monitoring Progress เมื่อคุณได้เรียนรู้ คุณจำเป็นต้องทำสัญลักษณ์ไว้เพื่อบอกการก้าวหน้าในงานของคุณ
•อะไรคือขั้นตอนการเรียนรู้ เป็น บทเรียน แนวคิด และอะไรที่เป็นลำดับขั้นตอน เหล่านี้เป็นจุดหมายย่อย ๆ หรือไม่ สิ่งเหล่านี้ควรบันทึกไว้ด้วย
•ได้พัฒนาทักษะอะไรจากการเรียนรู้ครั้งนี้ สามารถนำไปใช้ในการเรียนอื่น ๆ ได้หรือไม่ และจะจำได้หรือไม่
•อะไรที่ทำไม่สำเร็จ จำเป็นต้องย้อนกลับไปทำโดยใช้วิธีอื่นอีกหรือไม่
•มีอะไรบ้างที่ไม่สมเหตุสมผลหรือไม่ งานเหล่านั้นอาจจะรวมถึงความไม่เหมาะสมกันเพราะว่าพวกมันกระตุ้นความอยกรู้อยากเห็น
•จะให้รางวัลกับตัวเองอย่างไรเมื่อทำงานสำเร็จ
•ฉันได้คิดด้านบวกในเป้าหมายในใจ อย่าหลีกหนีปัญหา
หลักการสร้างแรงจูงใจให้ตนเองมีดังนี้
•พยายามรำลึกอยู่เสมอว่าต้องการทราบ/รู้อะไร
•มีความรับผิดชอบในการเรียน
•ยอมรับในความเสี่ยงที่มีในการเรียนกับความเชื่อมั่น ความสามารถ ตนเอง
•จำไว้ว่าความล้มเหลวคือความสำเร็จ เรียนรู้จากความผิดพลาดคือสิ่งที่ดี
•ฉลองให้กับความสำเร็จของตนเองเมื่อทำงานเสร็จ
Defining the project (การกำหนดเรื่อง /Project)
1.สิ่งที่ต้องการจะศึกษาอย่างย่อ ๆ และได้ใจความ อย่าเขียนสิ่งที่ยากเกินไปเกินความสามารถ เขียนให้ครอบคลุมอย่างมากไปถึง 2 เดือน
2.ระบุ 3 เหตุผล ที่อยากศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ ติดไว้ที่ผนังห้องหรือเก็บไว้ในสมุดบันทึก สิ่งที่ได้พบคุณจะ
-พยายามมากขึ้น
-ลองวิธีใหม่หากทำแล้วไม่ได้ผล
-ทำต่อไปเรื่อย ๆ
-ศึกษาอย่างลึกซึ้งลงไปอีก
แรงจูงใจเดิมที่มีคือแรงจูงใจของคุณและรวมถึงเป้าหมายของคุณ คุณค่า และความสนใจของคุณ นี่คือสิ่งที่คุณจะได้ทำต่อไป ตัวอย่าง
-ฉันอยากเรียนรู้สิ่งที่สามารถสื่อสารกับเพื่อนได้เร็วขึ้น
-ฉันอยากเรียนรู้เกี่ยวกับทวีปอาฟริกาเพื่อรู้ประวัติศาสตร์ครอบครัวของฉัน
-ฉันอยากทำงานและเรียนรู้เกี่ยวกับสกีเพื่อเล่นสกีให้เก่งขึ้น
-ฉันอยากเรียนอุตสหกรรมงานไม้เพื่อทำตู้เครื่องเสียงของฉันเอง
3.Extrinsic value ระบุ 3 เหตุผลที่บางคนต้องการให้คุณศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ อย่าแปะแผ่นนี้บนผนังแต่ให้เก็บไว้แล้วค่อยเอาออกมาทีหลัง หรือวางมันไว้ในหน้าสุดท้ายของสมุดบันทึก
บางครั้งแรงจูงใจอื่น ๆ มาจากภายนอกแต่ไม่มีความสำคัญเท่ากับแรงจูงใจของตนเอง มันรวมถึงเป้าหมาย คุณค่า และความสนใจของคนอื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อคุณ คุณเรียนรู้วิธีที่จะหลีกเลี่ยงการถูกลงโทษ ได้รับรางวัล หรือชื่นชมบางคน ตัวอย่าง
ฉันเรียนรู้วันเวลาเพื่อให้ผ่านการสอบวิชาประวัติศาสตร์
ฉันเรียนรู้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแค่ให้ได้เข้าทำงาน
ฉันเรียนรู้หลักการเตะฟุตบอลเพื่อให้เป็นที่ชื่นชอบของครูฝึก
แรงจูงใจภายนอกไม่ใช่สิ่งเลวร้าย เพียงแต่มันเป็นสิ่งไม่สำคัญเท่ากับแรงจูงใจของตัวเอง
4.การเลือกที่ปรึกษา
ผู้ใดเหมาะที่จะเป็นผู้ให้คำปรึกษา
•คนที่ไว้ใจได้
•เข้าใจเป้าหมาย/แรงจูงใจของคุณ
•เข้าใจ Project ของคุณ
•ติดตามสอบถามการทำงานของคุณเป็นระยะ ๆ
•ไม่ใช่ทดสอบการทำงานของคุณ
•ให้การสนับสนุนคุณไม่ใช่คอยตัดสินคุณ
•สามารถให้คำแนะนำหลากหลายวิธีเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
•ทำการติดต่อถึงคุณหากคุณหลีกเลี่ยงเขาหรือไม่ยอมทำ Project
การติดต่อสื่อสาร
-How (อย่างไร)? ไปพบด้วยตัวเอง โทรศัพท์ หรือ e-mail
-When (เมื่อไหร่)?
-How often (บ่อยแค่ไหน)? เจออย่างน้อย 3 ครั้ง (เริ่มทำ, ตอนกลาง และขั้นสรุป)
-Where (ที่ไหน)?
5.Developing the project การพฒนา Project
•มีลำดับขั้นการเรียนรู้หรือไม่ (บทอ่าน แนวคิด ทักษะ ระดับ เป็นต้น)
•จะใช้เวลาในการทำ Project นี้นานแค่ไหน (ระบุเป็นตารางชั่วโมง สัปดาห์)
•ใครคือผู้ให้คำปรึกษา (บรรนารักษ์ ครู อาจารย์ ผู้รู้อื่น ๆ เป็นต้น)
•แหล่งข้อมูลคือ หนังสือ บรรณานุกรม คู่มือ สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เว็บไซด์ เป็นต้น
•ทดสอบสิ่งที่ได้เรียนรู้ โดย การทดสอบ รายงาน ผลการเรียน เสียงสะท้อนจากเพื่อน ๆ หรือครู จำนวนหน้าที่ได้อ่าน หรืองานที่ทำเสร็จ เป็นต้น
•บันทึกความคืบหน้าของงานเป็นวัน สัปดาห์ เดือนที่ทำงานชิ้นนั้นเสร็จ
•รางวัลที่ให้กับความสำเร็จในการทำงานต้องสอดคล้องกับความก้าวหน้า ระดับความยากง่ายของชิ้นงาน
•เมื่องานไม่สำเร็จตามที่ตั้งเป้าไว้จะไปที่ไหน
6.Monitoring Progress เมื่อคุณได้เรียนรู้ คุณจำเป็นต้องทำสัญลักษณ์ไว้เพื่อบอกการก้าวหน้าในงานของคุณ
•อะไรคือขั้นตอนการเรียนรู้ เป็น บทเรียน แนวคิด และอะไรที่เป็นลำดับขั้นตอน เหล่านี้เป็นจุดหมายย่อย ๆ หรือไม่ สิ่งเหล่านี้ควรบันทึกไว้ด้วย
•ได้พัฒนาทักษะอะไรจากการเรียนรู้ครั้งนี้ สามารถนำไปใช้ในการเรียนอื่น ๆ ได้หรือไม่ และจะจำได้หรือไม่
•อะไรที่ทำไม่สำเร็จ จำเป็นต้องย้อนกลับไปทำโดยใช้วิธีอื่นอีกหรือไม่
•มีอะไรบ้างที่ไม่สมเหตุสมผลหรือไม่ งานเหล่านั้นอาจจะรวมถึงความไม่เหมาะสมกันเพราะว่าพวกมันกระตุ้นความอยกรู้อยากเห็น
•จะให้รางวัลกับตัวเองอย่างไรเมื่อทำงานสำเร็จ
•ฉันได้คิดด้านบวกในเป้าหมายในใจ อย่าหลีกหนีปัญหา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)